Last updated: 27 ก.ย. 2563 | 3102 จำนวนผู้เข้าชม |
แผลกดทับ คืออะไร ?
แผลกดทับในผู้สูงอายุคือแผลที่เกิดจากแรงกดทับพอมีแรงมากดทับจากการนอนเวลานานนั้นจะทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดแดงฝอยในผู้สูงอายุ การไหลเวียนของเลือดมาบริเวณนั้นก็จะน้อยลง ส่งผลทำให้ผู้สูงอายุเกิดการคั่งของของเสียและสารพิษที่เกิดจากการขบวนการเผาผลาญในร่างกายผู้สูงอายุได้นั้นเองครับ
เริ่มแรกอาจจะเห็นรอยแดงๆที่ผิวหนังผู้สูงอายุหลังมีแรงกดทับมานานนั้นเค้าเรียกว่า “แผลกดทับระดับ 1” ครับ รอยแดงที่เห็นถ้าเราลองเอานิ้วกดเบา ๆ ที่รอยแดงของผู้สูงอายุมันก็ไม่ซีดขาวแต่มันยังคงแดงเหมือนเดิมซึ่งมันผิดปกติถ้าเรายังคงปล่อยผ่านไปไม่ทำอะไรมันก็จะเกิด “แผลกดทับระดับ 2” คือ จะมีการสูญเสียผิวหนังเกิดขึ้น พูดง่าย ๆ ว่า เกิดเป็นแผลในผู้สูงอายุขึ้นนั้นเอง แต่จะเป็นแผลตื้นๆ ยังไม่เป็นแผลลึกมากผู้สูงอายุบางคนอาจจะไม่เป็นแผลแต่เป็นถุงน้ำพองหากยังปล่อยไว้อีกชะล้าใจ แผลก็จะลึกมากขึ้น และผู้สูงอายุอาจจะมีเนื้อตายได้
บริเวณที่ผู้สูงอายุจะเกิดแผลกดทับได้จะเป็นผิวหนังหรือเนื้อเยื้อบริเวณปุ่มกระดูกของผู้สูงอายุทั้งนี้มันเป็นเพราะว่าผิวหนังหรือเนื้อเยื้อบริเวณนั้นมันทนต่อแรงกดทับได้น้อยกว่าตำแหน่งอื่นครับ แสดงว่าดูแลผู้สูงอายุแผลกดทับเกิดได้ทุกที่ที่โดนแรงกดทับ แต่บริเวณที่กล่าวเป็นแผลกดทับได้ง่ายกว่ายกตัวอย่างดูแลผู้สูงอายุที่นอนติดเตียง บริเวณที่มักจะพบแผลกดทับก็จะมีบริเวณก้นสะโพกด้านข้างและส้นเท้าของผู้สูงอายุอีกตัวอย่างหนึ่งตัวอย่างดูแลผู้สูงอายุที่ต้องนั่งนานๆเราจะพบแผลกดทับที่ผู้สูงอายุบริเวณก้น เท้า และที่ข้อศอก
จากที่ได้กล่าวไปว่าดูแลผู้สูงอายุแผลกดทับมันเกิดจากแรงกดทับ ดังนั้น หากเราต้องการที่จะป้องกันแผลกดทับแล้วเราก็ต้องกำจัดแรงนั้นไป ดูแลผู้สูงอายุอีกอย่างเราก็ต้องกระทำการป้องกันต่างๆเพื่อไม่ให้เกิดแผลกดทับใหม่ผู้สูงอายุนี้คือหลักในการดูแลรักษาแผลกดทับครับ
การดูแลผู้สูงอายุกำจัดแรงกดทับ ทำได้ดังนี้ครับ
1. การเปลี่ยนท่าผู้สูงอายุ
2. การใช้หมอนหนุนผู้สูงอายุ
3. การใช้อุปกรณ์ลดแรงกดทับผู้สูงอายุมีการศึกษาหนึ่งเค้าจัดท่าผู้สูงอายุนอนติดเตียงจากนอนเป็นท่านั่งให้หัวสูงพบว่าเมื่อนั่งให้หัวสูงก็จะมีแรงกดทับผู้สูงอายุบริเวณก้นกบมาก
โดยท่าที่เกิดแรงกดน้อยที่สุด คือให้ผู้สูงอายุท่านอนศีรษะสูง 30 องศาพร้อมๆกับงอเข่า 30 องศาส่วนอุปกรณ์ลดแรงกดทับเช่นเตียงน้ำแผ่นรองช่วยกระจายน้ำหนักเบาะนั่ง ฯลฯ
นอกจากการกำจัดแรงกดทับในการดูแลผู้สูงอายุ การป้องกันไม่ให้เกิดแผลกดทับใหม่ก็สำคัญ มีข้อควรปฏิบัติในการดูแลผิวหนังของผู้สูงอายุที่เสี่ยงหรือที่มีแผลกดทับ ดังนี้ครับ
1. ดูแลผู้สูงอายุให้เปลี่ยนท่าหรือหมั่นเคลื่อนไหวบ่อย ๆ อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
2. ดูแลผู้สูงอายุให้เปลี่ยนท่าโดยการยกไม่ใช้การลากนะครับ (ผิวหนังผู้สูงอายุจะได้ไม่ถลอก)
3. ดูแลผู้สูงอายุท่านอนตะแคงไม่เกิน 30 องศา
4. ดูแลผู้สูงอายุให้ผิวหนังสะอาดและทาโลชั่น ทาครีม อย่าปล่อยให้ผิวแห้งไม่นอนจมของเสียทำให้ผิวเปียกเปื้อนเปื่อย
5. ดูแลผู้สูงอายุหมั่นคอยสังเกตดูความผิดปกติของผิวหนังบ่อย ๆ
https://www.facebook.com/tayaynursinghome
10 ก.พ. 2564
11 พ.ย. 2563
7 ต.ค. 2563